สถานภาพศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะในลุ่มน้ำวัง / Educational Status of Art History in Wang River Basin

ชาญคณิต อาวรณ์

Abstract


การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะล้านนามีความสัมพันธ์กับระบบการศึกษารัฐไทย การเน้นกลุ่มงานพุทธศิลป์แบบงานช่างโบราณในพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ในลุ่มน้ำวังพบว่า ให้ความสำคัญกับกลุ่มวัดหลวงในพื้นที่ลุ่มน้ำวังตอนกลางและตอนใต้ เน้นการศึกษาด้านรูปแบบเป็นกระแสหลัก ส่วนการใช้หลักฐานให้ความสำคัญกับงานสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มงานพุทธศิลป์ในวัดพระธาตุลำปางหลวง  ประกอบกับการขาดหลักฐานเอกสารทางประวัติศาสตร์ในแบบ “พื้นเมือง” ทำให้ประวัติศาสตร์ศิลปะลุ่มน้ำวังจำเป็นตองอาศัยเอกสารทางประวัติศาสตร์จากเมืองเชียงใหม่ – ลำพูนเป็นหลัก เช่นเดียวกับการเปรียบเทียบรูปแบบศิลปะด้วย สำหรับงานศึกษาพุทธศิลป์ช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 – 25 พบว่าในกลุ่มงานลุ่มน้ำวังตอนบนยังมีปริมาณน้อย แต่กลับมีการค้นคว้าศึกษางานศิลปะพื้นบ้านมากขึ้น อย่างไรก็ดีงานศึกษาในช่วงหลังทศวรรษ 2540 เป็นต้นมาได้ค้นคว้าข้อมูลใหม่และเปิดพรมแดนความรู้ใหม่ ทั้งในด้านหลักฐานและวิธีการวิเคราะห์ พร้อมกับการสร้างตำแหน่งแห่งที่ของท้องถิ่นอีกด้วย

Lanna art historical study is related to the state education system and focus groups in ancient Buddhist art in Century 21-22 importance to the monastic groups in central and southern Wang basin,focus on education as a mainstream model. The use of evidence, with a focus on architecture. Especially in the arts in the Buddhist Wat Phra That Lampang Luang. Attributed to the lack of historical documents in a " native " to the history of art , Wang watershed requires historical documents from the city of Chiang Mai – Lamphun prevail. As well as a comparison with the art form. Studied Buddhist art for centuries during the 24 to 25 found that in the group WANG upper basin has less volume that have researched the folk art . However, studies in the decade after 2540 , the new data to research in open borders and new knowledge. Both the evidence and analysis methods with the position of the local as well.

 


Full Text:

PDF

References


บรรณานุกรม

กลุ่มหน่อศิลป์ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บ้านก่อ ช้างเผือกเมืองลำปาง. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง

แอนด์พับลิชชิ่ง,2550.

เกียรติก้อง ศิลปสนธยานนท์, “พระบฏวัดปงสนุกเหนือ” ใน ปงสนุก :

คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์, เกรียงไกร เกิดศิริ,บรรณาธิการ.

กรุงเทพฯ : อุษาคเนย์, 2550.

คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และ

โบราณคดี, “ศิลาจารึกหลักที่ 70” ใน ประชุมจารึก ภาค 3.กรุงเทพฯ : สำนักนากรัฐมนตรี, 2508.

จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา, “ลายคำประดับเสาพระพุทธ วัดพระธาตุลำปาง

หลวง,” เมืองโบราณ ปีที่ 23 ,ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน

: 113 – 128.

. ลวดลายปูนปั้นประดับโบราณสถานในเมืองเชียงใหม่.

เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545.

ชาญคณิต อาวรณ์. “ สัญลักษณ์พานรัฐธรรมนูญกับประติมานวิทยาทาง

การเมืองในเขตวัฒนธรรมล้านนา พ.ศ.2475 – 2490,” หน้าจั่ว : ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, ฉบับที่ 6 (กันยายน 2552 – สิงหาคม 2553) : 52 – 69.

. “ปราสาทโขงพระเจ้าในศิลปะล้านนา : ความสัมพันธ์

ทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมระหว่างเมืองเชียงใหม่และนคร

ลำปาง”.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา

ประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร,

ชาญณรงค์ ศรีสุพรรณ. “การศึกษาวิหารที่สร้างในกระบวนการครูบาศรี

วิชัย พ.ศ.2447 – 2481”.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม คณะโบราณคดี

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540.

ชาตรี ประกิตนนทการ,การเมืองและสังคมในศิลปะและสถาปัตยกรรม :

สยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม.กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม

ฉบับพิเศษ, 2547.

ทศพร กนกวาณิชกุล, “ภาพเล่าเรื่องนิบาตชาดกที่วัดไหล่หินแก้วช้างยืน

อ.เกาะคา จ.ลำปาง,” เมืองโบราณ ปีที่ 36, ฉบับที่ 3

(กรกฎาคม – กันยายน 2553) : 127 – 138.

น. ณ ปากน้ำ(นามแฝง), “ศิลปกรรมแห่งนครลำปาง,” เมืองโบราณ ปีที่

, ฉบับที่ 4 (เมษายน – มิถุนายน 2522) : 49 – 57.

พรรณนิภา ปิณฑวณิช. “การศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรมวัดพระธาตุ

ลำปางหลวง จังหวัดลำปาง” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

พรรณเพ็ญ เครือไทย, ชัปนะ ปิ่นเงิน และศราวุธ ศรีทา.ประชุมจารึก

ล้านนา เล่มที่ 7 จารึกในจังหวัดลำปาง.เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547.

ภานุพงษ์ เลาหสม. จิตรกรรมฝาผนังล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ,

ม.ล.สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ และฮันส์ เพนธ์,พุทธศิลปะในนิกายสีหฬภิกขุ

พ.ศ.1900-2100 (ราว ค.ศ.1350-1550) : ศึกษาจากพระพุทธ

สิหิงค์และพระพุทธรูปที่มีจารึกในประเทศไทย (เน้นล้านนา)

.เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, 2550.

ยงยุทธ ชูแว่น.ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไทยว่าด้วยความเป็นมา สถานภาพ

แนวคิด วิธีการศึกษาและบทบาทในสังคมปัจจุบัน.กรุงเทพฯ :

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2551.

ยอร์ช เซเดส์,โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนคร.พระนคร

: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนาธร,2471.

รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง.ประวัติ แนวคิดและวิธีค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์

ศิลปะไทย.กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ,2551”.

วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์,วิหารล้านนา.กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2544.

วิถี พานิชพันธ์. “ร้อยลายสายละกอน” ใน อณุสรณ์งานฌาปนกิจนาง

บุญแถม เดียวตระกูล.กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง,2547.

. “พระบฎวัดทุ่งคา อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง” จดหมายข่าว

ล้านนาคดี(เอกสารอัดสำเนา)

ศักดิ์ชัย สายสิงห์, “ พระธาตุหริภุญชัย : ต้นแบบเจดีย์ทรงระฆังแบบ

ล้านนา,” ดำรงวิชาการ ปีที่ 3 ,ฉบับที่ 6(กรกฎาคม – ธันวาคม

: 59 – 71.

. พระพุทธรูปสำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย.

กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ,2554.

สงบ ฉิมพลีย์. “อิทธิพลศิลปะพม่าที่มีต่อโบราณสถานในจังหวัดลำปางใน

ต้นพุทธศตวรรษที่ 25”

วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโบราณคดี

สมัยประวัติศาสตร์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร,

สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ,ตำนานพุทธเจดีย์สยาม.พระนคร :

โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนาธร, 2468

สมพงศ์ คันธสายบัว. “บทวิจัยและวิทยานิพนธ์ที่น่าสนใจ : ภาพเขียนสี

ภายในวิหาร น้ำแต้มวัดพระธาตุลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.

ลำปาง” เมืองโบราณ ปีที่ 11,ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน

: 109 – 117.

สรัสวดี อ๋องสกุล,ประวัติศาสตร์ล้านนา,พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ :

อมรินทร์พริ้นติ้ง,2553.

สันติ เล็กสุขุม.ศิลปะภาคเหนือ : หริภุญชัย – ล้านนา(กรุงเทพฯ : เมือง

โบราณ, 2538.

สามารถ ศิริเวชพันธุ์.วิหารโถง ซุ้มโขง สกุลช่างลำปาง.เชียงใหม่ :

โครงการศึกษาวิจัยศิลปะสถาปัตยกรมล้านนา สถาบันวิจัย

สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2524.

สุรชัย จงจิตรงาม, “จิตรกรรมวัดอุโมงค์ เชียงใหม่” เมืองโบราณ ปีที่ 32,

ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน 2549) : 1 – 4.

สุรพล ดำริห์กุล. เจดีย์ช้างล้อมกับประวัติศาสตร์บ้านเมืองและพุทธ

ศาสนาลังกาวงศ์ในประเทศไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.

___________, ลายคำล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2544.

อรรถจักร สัตยานุรักษ์. การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นนำไทย

ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4

– พ.ศ.2475 .กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

,2541.

อุษณีย์ ธงไชย หัวหน้าโครงการ.รายงานการวิจัยศิลปกรรมและประวัติ

ชุมชนรอบวัดพม่า-ไทใหญ่ในนครลำปาง.เชียงใหม่ : ศูนย์

โบราณคดีภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554.

เอกสารรวมบทความประกอบการสัมมนา ล้านนาคดีศึกษา : ศิลปะ

กรรม.เชียงใหม่ : ศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่และศูนย์

ศิลปวัฒนธรรมเชียงใหม่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่,2535.

A.B. Grisworld., Date Buddha images in Northern Siam,

Artibus Asiae, Supplementum 16.Ascona Switzeland,1957.p.40.

Chotima Chaturawong. The architecture of Burmese

buddhist monasteries in upper Burma and

northern Thailand : the biography of trees. Thesis

(Ph.D.) Cornell University, 2003.

Hans Penth, “Inscription and Images on the Pra That in

Lamphun,” in Artibus Asiae, V.SLIX,n3/4,1988 –

, p.652.

Piriya krairiksh, “The Repousse Buddha Images of the

Mahathat Lamphun” in Artibus

Asiae, V.XLIX, n1/2,1989 – 1989, p.170.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.




ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ