ความไม่เท่าเทียมในการกำาหนดทิศทางการพัฒนาระหว่าง รัฐส่วนกลางและท้องถิ่นเมืองชายแดน : กรณีศึกษาอำาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย / Uneven Development Between State and Borderland: a case study of Chiang Khong District, Chiang Rai Province

ปฐมพงศ์ มโนหาญ

Abstract


บทความชิ้นนี้คือความพยายามอธิบายความไม่สมมาตรของ
อำานาจในการกำาหนดแนวทางการพัฒนาทางเศรษฐกิจของพื้นที่ชายแดน
ในยุคที่การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยมีรัฐและทุน
พยายามเป็นผู้แสดงหลักในการควบคุมกิจกรรมข้ามแดน ไม่ว่าจะเป็นการ
ค้า การลงทุน และ การท่องเที่ยวเป็นต้น
ถึงแม้ว่าโลกหลังสงครามเย็นตั้งแต่ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา
ได้มีความเคลื่อนไหวของระเบียบโลกจนทำาให้เส้นพรมแดนมีความไม่
ชัดเจน แต่อย่างไรก็ตามหากเชื่อว่าเราอยู่ในยุคสมัยของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ที่รัฐและทุนใช้ความ “เสรี” เป็นฉลากบังหน้าเพื่อที่จะควบคุมกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ ท้องถิ่นชายแดนก็ไม่อาจจะหนีพ้นความพยายามควบคุม
ดังกล่าวได้ ซึ่งในบทความนี้ได้ใช้ข้อมูลส่วนหนึ่งจากงานวิจัยภาคสนาม
พื้นที่ชายแดนเชียงของ เป็นตัวแทนอธิบายถึงสถานการณ์ที่รัฐพยายามจะ
ควบคุมกิจกรรมข้ามแดนโดยการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4
จนเกิดเหตุการณ์ประท้วงและยื่นหนังสือเรียกร้องถึงนายอำาเภอเชียงของ
ให้มีการเปิดจุดผ่านแดนในเขตพื้นที่เดิมของเชียงของ แต่กลับไม่เป็นผล
ด้วยความสลับซับซ้อนของอำานาจในการจัดการท้องถิ่นที่มีลักษณะข้าม
เขตแดน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าท้องถิ่นที่ประกอบไปด้วยประชาชนตัวเล็กตัว
น้อย ภาคประชาสังคมที่เคยเคลื่อนไหวในประเด็นการเมืองอื่นๆ และกลุ่ม
การเมืองท้องถิ่นทั้งหมดกลับไร้อำานาจที่จะต่อรองกับการขยับตัวของรัฐ
และทุนได้


This article attempts to explain power imbalances
in the development of cross-border economies in the ASEAN
Economic Community through state and industry attempts to
control cross-border business, trade, investment and tourism.
Following the end of the cold war and as a result of
changes in world power, cross-border zones were not clearly
demarcated. Neo-liberalism underwrote attempts to use the
state and capitalism to gain economic control in the name
of freedom and cross-border business was not exempted
from that control. The article examines data gathered from
fieldwork conducted in the border areas of Chiang Kong and
tries to explain a situation in which the state asserted its
rights over cross-border business by opening the 4th Thai-Lao
friendship bridge. As a result of this intervention, protests
occurred and complaints were made to the district head
to open the former border check point in the area of
Chiang Kong. The request was denied due to the complexity of
dealing with the cross-border area and this shows the lack of
power of the local government when negotiating on behalf of
local communities with the state and corporate powers.


Full Text:

PDF

References


เอกสารอ้างอิง

จามะรี เชียงทอง. ข้าวโพดข้ามชาติ: รัฐ ทุน พ่อค้าชายแดน และ เกษตรกร ใน “ชนชายแดน

กับการก้าวข้ามพรมแดน”. วนิดาการพิมพ์ เชียงใหม่. 2555 (หน้า 107 - 148)

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. “รัฐ – ชาติกับ (ความไร้) ระเบียบโลกชุดใหม่”. (พิมพ์ครั้งที่ 2)

สำานักพิมพ์วิภาษา กรุงเทพฯ. 2553

เดวิด ฮาร์วี. “ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่”. สำานักพิมพ์สวนเงินมีมา

กรุงเทพฯ. 2555 (ฉบับแปล)

ธนวัฒน์ ศรีหฤทัย. “การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนตั้งโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

ในอำาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย”. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2541

ธงชัย วินิจจะกูล. “กำาเนิดสยามจากแผนที่ ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ”.

โครงการจัดพิมพ์คบไฟ ร่วมกับสำานักพิมพ์อ่าน กรุงเทพฯ. 2556 (ฉบับแปล)

ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. “ทุนนิยมชายแดนนิคมเกษตรกรรมยางพารา และการเปลี่ยนแปลง

ของสังคมเกษตรกรรมในภาคใต้ของลาว”. ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ

มหาวทิยาลัยเชียงใหม่. 2554

เปรมประชา ดีเมลโล. “การค้าชายแดนและผลกระทบต่อชุมชนในอำาเภอเชียงของจังหวัด

เชียงราย”. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร. ภาพรวมความเหลื่อมลำ้ากับความขัดแย้ง. “ความเหลื่อมลำ้าและความไม่

เป็นธรรมในการเข้าถึงทรพยากรและบริการพื้นฐานของประเทศไทย”.

โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ. 2556

พฤกษ์ เถาถวิล. พื้นที่ของการดำารงชีวิตในการค้าชายแดน: เขตแดนรัฐ พื้นที่ในระหว่าง และ

ภูมิศาสตร์แห่งการครอบงำา/ต่อต้าน ใน “วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย

อุบลราชธานี ฉบับพิเศษลุ่มนำ้าโขงศึกษา”. 2552

พรพินันท์ ยี่รงค์ และ คณะ. ความเหลื่อมลำ้าในการกระจายรายได้ การศึกษาและสาธารณะสุข

ในจังหวัดเชียงราย ใน. “OBELS OUTLOOK 2014 ปูพรมชายแดน: เชียงรายศึกษา

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการท่องเที่ยว”. สำานักงานเศรษฐกิจชายแดน และ

โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. 2556, หน้า 82

อรวรรณ พันธ์เนตร. “การประเมินความต้องการมีส่วนร่วมและความต้องการพัฒนาการ

ท่องเที่ยวของประชาชนกรณีบ้านหาดไคร้ ตำาบลเวียง อำาเภอเชียงของ จังหวัด

เชียงราย”. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม.

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2541

Walker, Andrew. “The Legend of the Golden Boat: Regulation, Trade and

Trader in the Borderlands of Laos, Thailand, China and Burma”.

University of Hawai. USA. 1999

Laothamatas, Anek. Business and Politics in Thailand: New Patterns of Influence.

“Asian Survey”. Vol. 28, No. 4 (Apr. 1988), pp. 451 – 470.

แหล่งข้อมูลออนไลน์

“Asean Economic Community Blueprint”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา

http://www.asean.org/archive/5187-10.pdf (เข้าสู่ระบบ 25/02/2558)

“เส้นความยากจน (Poverty line) จำาแนกตามภาคและเขตพื้นที่ ปีพ.ศ.2531-2555 รายปี”.

[ระบบออนไลน์]

แหล่งที่มา

http://social.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx?reportid=

&template=2R1C&yeartype=M&subcatid=59 (เข้าสู่ระบบ 25/02/2558)

“GINI index (World Bank estimate)”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา

http://data.worldbank.org/indicator/SI.POV.GINI (เข้าสู่ระบบ 25/02/2558)

“สรุปการค้าชายแดนไทยด้านจังหวัดเชียงราย”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา

http://www.moc.go.th/opscenter/cr/data/Trade_Data/2012/2555_.pdf

(เข้าสู่ระบบ 25/02/2558)

สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจประกอบด้วย ไทย จีน เมียนมาร์ และ ลาว [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา

http://pun2013.bth.cc/webboard/topic-view-327147

(เข้าสู่ระบบวันที่ 16/09/2557)

New Thai-Lao Friendship Bridge across the Mekong”. [online] source

http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2013/08/21/new-thai-laofriendship-bridge-across-the-mekong/ (access on 17/09/2014)

มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 3 : 1 (มกราคม-มิถุนายน 2558) > 93

“โอด เปิดสะพานมิตรภาพ4 กระทบการค้า’เชียงของ’” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา

http://www.thairath.co.th/content/393850

(เข้าสู่ระบบวันที่ 17 กันยายน 2557)

สัมภาษณ์

นายไทร, 19 พฤษภาคม 2557

นางแจ่มจิต, 4 พฤษภาคม 2557

นางปลายหนึ่ง, 3 พฤษภาคม 2557

นางทองสุข, 18 พฤษภาคม 2557

นายเสงี่ยม, 5 พฤษภาคม 2557

นายทัด, 15 สิงหาคม 2557

นางแสงนวล 4 พฤษภาคม 2557

นายจุ๊บ, 17 พฤษภาคม 2557

นายก๋อง, วันที่ 7 สิงหาคม 2557


Refbacks

  • There are currently no refbacks.




ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ