มังกรผงาด : ว่าด้วยการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศโดย รถยนต์ในลุ่มน้ำโขงตอนบน / China’s Rise: A Case Study of International Travelling by Automobile in the Upper Mekong Area

ณัฐกร วิทิตานนท์

Abstract


บทความเรื่องนี้เป็นผลจากประสบการณ์ตรงของผู้เขียนที่ได้ร่วม
เดินทางไปบนเส้นทาง R3A และ R3B ระหว่างปี 2551-2557 รวม 5 ครั้ง
โดยพยายามชี้ให้เห็นอิทธิพลของจีนที่ส่งผลให้การเดินทางท่องเที่ยวโดย
รถยนต์ระหว่าง 4 ประเทศ คือ ไทย พม่า ลาว และจีน ยังติดขัดข้อจำากัด
บางประการ

ผลการศึกษาพบว่า เส้นทาง R3B ต้องเผชิญกับปัญหาหลาย
เรื่อง ไม่ว่าคุณภาพถนนที่แย่ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางที่สูง เส้นทางที่ไม่
สามารถทะลุเข้าไปถึงเชียงรุ่งได้ เนื่องด้วยจีนไว้วางใจลาวมากกว่าพม่า จึง
ให้ความสำาคัญต่อเส้นทาง R3A ซึ่งยังคงประสบปัญหาขาดความเชื่อมต่อ
ที่มีเอกภาพ เพราะแต่ละประเทศต่างก็ถือกฎเกณฑ์ของตน เช่นเรื่องของ
การนำารถเข้า-ออกประเทศ

กรณีดังกล่าวเป็นอีกรูปธรรมหนึ่งของปรากฏการณ์ที่มีนักวิชาการ
เรียกว่า “ความสัมพันธ์แบบอสมมาตร” (asymmetry) ระหว่างจีนกับ
ประเทศต่าง ๆ ทำาให้รัฐบาลของประเทศเหล่านี้มีความเกรงใจจีนเป็น
พิเศษ ประเมินจากเรื่องนี้แล้ว ในกรณีของไทยนั้นเสียเปรียบทุกประเทศ
มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่ ‘สถานะ’ ของแต่ละประเทศ และ ‘สถานการณ์’
ในแต่ละห้วงเวลา โดยเฉพาะต่อจีนที่มีบทบาทนำาในการกำาหนดทิศทาง
ความเป็นไปในอนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขงตอนบน

บทความเรื่องนี้ปรับปรุงจากเนื้อหาส่วนหนึ่งในการอภิปรายของผู้เขียนเองในหัวข้อย่อย “การเมืองเรื่องสุนทรียภาพในรัฐฉานตะวันออก: การเชื่อมโยง เรื่องศิลปกรรม ชาติพันธุ์ และการท่องเที่ยวในกลุ่มประชาคมอาเซียน” ส่วนหนึ่งในการสัมมนาวิชาการประจำาปี 2557 ของมูลนิธิโครงการตำาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ “ไทย-พม่าศึกษา: ในกรอบประชาคมอาเซียน” ระหว่างวันที่ 18-19 ธันวาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร

This article is the result of the direct experience of the
researcher who traveled along the R3A and R3B during 2008-
2014 for five times. The purpose of this article is to perform
the political factor relating to the struggles of the international
travelling by automobile among four countries: Thailand,
Myanmar, Laos, and China.


The result of this research found that the R3B encounters
with many obstacles whether the bad roads are in condition
with high travel expenditure, and not accessible road to
Jinghong. While the R3A confronts with the absence of road
linkages because of the regulations, taking vehicles in-out the
four countries.


This is one of the phenomena that scholar describes as “asymmetry relationship” between china and other
countries which leads to contemplative decision making of
other countries. Judging from this factor, Thailand has been
subservient depending on the ‘status’ of each country and the
‘situation’ in each period of time, especially when China has
the leading role in upper GMS.




Full Text:

Untitled PDF

References


ภาษาไทย

Casino-OK : เจาะบ่อนชายแดนจีนบนเส้นทาง R3A/B คุนหมิง-กรุงเทพฯ (11).

(29 มิถุนายน 2552). จาก http://www.oknation.net/blog/akom/2009/06/

/entry-4

กรวรรณ สังขกร, จักรี เตจ๊ะวารี และกาญจนา จี้รัตน์. พฤติกรรมนักท่องเที่ยวจีนยุคใหม่ :

กรณีศึกษานักท่องเที่ยวจีนในจังหวัดเชียงใหม่. สถาบันวิจัยสังคม

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จาก http://www.sri.cmu.ac.th/~cct/wp-content/

uploads/2013/11/Chinese-Tourist-in-Chiang-Mai-061153.pdf

จีนประหารแล้ว! หน่อคำา เจ้าพ่อยาเสพติดสามเหลี่ยมทองคำา และพวก. ASTVผู้จัดการออนไลน์

(1 มีนาคม 2556), จาก http://www.manager.co.th/China/ViewNews.

aspx?NewsID=9560000025924

< มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 3 : 1 (มกราคม-มิถุนายน 2558)

เจาะลึกเส้นทางสายไหม R3A (2) “เฉา เสี่ยวเหลียง” กงสุลใหญ่จีน แนะคนไทยลงทุน...

ยูนนาน. ประชาชาติธุรกิจ ออนไลน์ (2 มกราคม 2558).

จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1420030354

เจาะลึกเส้นทางสายไหม R3A (จบ) กองทัพคาราวานทัวร์สุดฮิต จีนทะลักเชียงใหม่-เชียงราย.

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ (31 มกราคม 2558). จาก http://www.prachachat.

net/news_detail.php?newsid=1422441391

เฉลิมชัย ปัญญาดี และคณะ. รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับ

การพัฒนาเศรษฐกิจ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 (เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน).

เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ม.ป.ป.

‘เชียงตุง-เมืองลา’ รัฐฉาน เปิดรับนักท่องเทียวไทย-จีนแล้ว. คนเครือไท (5 มิถุนายน 2555).

จาก http://www.khonkhurtai.org/index.php?option=com_content&view

=article&id=1352:2012-06-05-07-21-40&catid=34:2009-11-23-07-01-45

ชวนเที่ยวเชียงตุงพม่าห้ามทัวร์ไทยเข้าอีก. คมชัดลึก (16 กุมภาพันธ์ 2554).

จาก http://www.komchadluek.net/detail/20110216/89099/

ชวนเที่ยวเชียงตุงพม่าห้ามทัวร์ไทยเข้าอีก.html

ณัฐกร วิทิตานนท์. พื้นที่ทับซ้อน อำานาจซ้อนทับ: ปัญหาในการจัดบริการสาธารณะเพื่อรองรับ

การท่องเที่ยวในอำาเภอชายแดน. เชียงใหม่: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557. จาก http://www.tuhpp.net/?p=12091

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุ่มชาติพันธุ์หลอย (ปลั้ง): รายงานการสำารวจ จาก

เชียงตุง เมืองลา ถึงสามต้าว. เชียงราย: โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรม

ลุ่มนำ้าโขง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, 2555.

ทศพล ศรีนุช. “ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2” กับความท้าทายการเป็นเมืองเศรษฐกิจบนความเป็น

เมืองประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม (1). ประชาธรรม (26 มกราคม 2558). จาก

http://prachatham.com/article_detail.php?id=218〈=en

__________. “ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2” กับความท้าทายการเป็นเมืองเศรษฐกิจบนความ

เป็นเมืองประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม (2). ประชาธรรม (2 กุมภาพันธ์ 2558). จาก

http://www.prachatham.com/article_detail.php?id=222#

__________. “ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2” กับความท้าทายการเป็นเมืองเศรษฐกิจบนความ

เป็นเมืองประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม (3). ประชาธรรม (17 กุมภาพันธ์ 2558). จาก

http://prachatham.com/article_detail.php?id=229

มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 3 : 1 (มกราคม-มิถุนายน 2558) > 63

เทิดชาย ช่วยบำารุง. เชียงรายรำาลึก: ฐานรากสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ :

สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2551.

พจน์-ทศพล วิจารณกรณ์. หลักกิโลเมตรยักษ์ใหญ่ที่สุดในโลกที่จังหวัดลำาปาง. บ้านเมือง

(19 เมษายน 2557). จาก http://www.banmuang.co.th/oldweb/2014/04/

หลักกิโลเมตรยักษ์ใหญ่/

ยศ สันตสมบัติ และคณะ. อนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขงใต้ชะเงื้อมสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ. เชียงใหม่:

ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่

ยั่งยืน, 2556.

ยศ สันตสมบัติ. มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจเผยแผ่อารยธรรมใน

อุษาคเนย์. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น

เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557.

ลาวจับ ‘หน่อคำา’ ราชายาเสพติดได้แล้ว ไทยขอตัวดำาเนินคดี. ไทยรัฐออนไลน์

(28 เมษายน 2555). จาก http://www.thairath.co.th/content/256210

ลาวส่งตัว “หน่อคำา” ให้ทางการจีนแล้ว. ประชาไท (11 พฤษภาคม 2555).

จาก http://www.prachatai.com/journal/ 2012/05/40463

วทัญญู ใจบริสุทธิ์. ทฤษฎีอธิปไตยเหนือดินแดนอันจำากัดกับปัญหาข้ามพรมแดนสมัยใหม่ใน

กรณีโครงการเขื่อนบนแม่นำ้าโขงของจีน. วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา. ปีที่ 14

ฉบับที่ 2. กันยายน 2552-กุมภาพันธ์ 2553, 51-72.

จาก http://www.asia.tu.ac.th/journal/ EA_Journal14_2/A4.pdf

วราภรณ์ เรืองศรี. คาราวานและพ่อค้าทางไกล: การก่อเกิดรัฐสมัยใหม่ในภาคเหนือของไทย

และดินแดนตอนในของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. เชียงใหม่: ศูนย์อาเซียนศึกษา

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557.

สำานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย.

จาก http://www.moc.go.th/opscenter/cr/border-t.htm

เอกรัตน์ บรรเลง. “เชียงตุง” บนรอยต่อกาลเวลา. นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา

(ธันวาคม 2554). จาก http://info.gotomanager.com/news/printnews.

aspx?id=93738

ภาษาอังกฤษ

Anthony Reid and Zheng Yangwen (eds.). Negotiating Asymmetry: China’s Place

in Asia. Singapore: NUS Press, 2009.

Lu Guangsheng. Economic Relations between China and GMS Countries:

Contents, Characteristics and Implications. Paper presented to First

Thai-Chinese Strategic Research Seminar, Bangkok, 24-26

August 2012. From http://www.nrct.go.th/th/Portals/0data/%E0%

B8%A0%E0%B8%95/2555/10/1stThai-Chinese_doc/Chinese-Presenters/

LUGUAN~1.PDF

Westphalian Sovereignty. Development of Geographic Thought (15 October

. from http://historyofthought.as.uky.edu/index.php/Westphalian_

Sovereignty


Refbacks

  • There are currently no refbacks.




ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ