พรรณพฤกษาและสัตว์: ธรรมชาติวิทยาในพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพรรณพฤกษาและสัตว์ธรรมชาติวิทยาในพระนิพนธ์ของ
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ซึ่งศึกษาจากวรรณคดีเรื่อง กาพย์เห่เรือ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง และกาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก โดยใช้แนวคิดทฤษฎีวรรณกรรมวิจารณ์เชิงนิเวศ ซึ่งพบประเด็นการศึกษาดังนี้ ประเด็นแรกเป็นการการศึกษาวรรณคดีนิราศของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ประเด็นที่สองเป็นการศึกษาพรรณพฤกษาและสัตว์ ธรรมชาติวิทยาในพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร พบแนวคิดธรรมชาติเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจโดยนำเสนอความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์มากที่สุด รองลงมาคือเรื่องอาหารของสัตว์ ลักษณะพรรณไม้และสัตว์ และถิ่นที่อยู่ของสัตว์ตามลำดับ และพบแนวคิดมนุษย์เป็นศูนย์กลางของสรรพสิ่ง โดยเฉพาะการเชื่อมโยงกับธรรมชาติ ประเด็นสุดท้ายคือ นางผู้เป็นที่รักในฐานะ ผู้เชื่อมโยงธรรมชาติในพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร พบการเชื่อมโยงทางกายภาพ เวลา และความคิดถึง
Keywords
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ISSN 2985-2757 (Print)
ISSN 2985-2765 (Online)
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แบบฟอร์มของวารสารฯ
1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์ - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ - คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ