ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์จีนและการสร้างอัตลักษณ์ของเมืองแม่สอด ตั้งแต่ พ.ศ.2510 ถึง พ.ศ. 2554 / History of the Chinese Ethnic in Mueang Maesod and the Construction of Mueang Maesod’s Identity from 1970 to 2011

รพีพรรณ จักร์สาน

Abstract


การค้าข้ามพรมแดนของชาวจีนแม่สอดในยุคตลาดมืด การค้าทั้งใน
ระบบและนอกระบบหลังจากที่รัฐบาลพม่าปิดประเทศ และการ
สร้างเครือข่ายทางการค้ากับคนกลุ่มต่างๆ ทำาให้นับตั้งแต่หลัง
ทศวรรษ 2510 เป็นต้นมา กลุ่มคนจีนแม่สอดขึ้นมามีบทบาทสำาคัญ
มากทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมของแม่สอด
กลุ่มคนจีนแม่สอดมีการปรับตัว ต่อรอง และสร้างอัตลักษณ์ให้
เมืองแม่สอด จนแม่สอดกลายเป็นเขต “พื้นที่ทางเศรษฐกิจ” เพื่อ
ที่จะดำารงไว้ซึ่งผลประโยชน์จากการค้าแก่กลุ่มชาติพันธุ์ จีน และ
เป็นการวางฐานให้กับกลุ่มพ่อค้าจีนมาจนยุคปัจจุบัน รวมถึงเพื่อ
เตรียมรับมือกับปัญหา และความเปลี่ยนแปลงต่างๆที่จะเกิดขึ้นใน
อนาคต

ปรับปรุงจาก รพีพรรณ จักร์สาน. ประวัติศาสตร์ชาติพันธ์จีนและการสร้างอัตลักษณ์ของเมืองแม่สอด
ตั้งแต่ พ.ศ.2510 ถึง พ.ศ.2554วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556


Both Chinese cross–border trade (formal and non-formal)
conducted since the rise of the black market following
the closure of Burma and the development of commercial
trade networks involving a wide range of groups have,
since the 1960s, empowered the Chinese in Maesod in
their economic, social, politic and cultural roles. This
group has adjusted itself to these roles, negotiating for
and generating an identity for Maesod as “an economic
region”. By doing so, they maintain economic benefits
for the Chinese community, lay the foundation for
succeeding Chinese merchants and prepare for potential
problems and changes in the future.

This article comprises a part of the thesis History of the Chinese Ethnic in Mueang
Maesod and the Construction of Mueang Maesod’s Identity from 1970 to 2011,
submitted by Rapeepan Jaksan in completion of Master of Arts degree in History,
Chiangmai University, 2013



Full Text:

PDF

References


เอกสารอ้างอิง

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และคณะ. พม่า : อดีตและปัจจุบัน. เชียงใหม่ : ศูนย์หนังสือเชียงใหม่, 2526.

ปลายอ้อ ชนะนนท์. บทบาทนายทุนพ่อค้าที่มีต่อการก่อและขยายตัวของทุนนิยมภาคเหนือ

ของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเศรษฐศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529

พรพิมล ตรีโชติ. การต่างประเทศพม่า : ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนบ้านและชนกลุ่มน้อย. กรุงเทพฯ :

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.

รพีพรรณ จักรสาน.ประวัติศาสตร์ชาติพันธ์จีนและการสร้างอัตลักษณ์ของเมืองแม่สอด ตั้งแต่

พ.ศ.2510 ถึง พ.ศ.2554. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556

ระดม สรรพพันธุ์. บทบาทของหอการค้าจังหวัดตากต่อการค้าชายแดนไทย-พม่า. วิทยานิพนธ์

รัฐศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2535.

ศุภกาญจน์ พงษ์ยี่หล้า. บทบาทของกลุ่มธุรกิจไทยในการดำาเนินนโยบายความสัมพันธ์ไทย-พม่า

-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548.

เอกสารออนไลน์

ASTVผู้จัดการออนไลน์. “‘แม่สอด’ขุมทองใหม่ SMEs ช่องทางเปิดโสร่งบุกค้าขายพม่า”.

สืบค้นจาก http://www.manager.co.th/ibizchannel/viewnews.aspx?News

ID=9570000038181 (14 เมษายน 2557) สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2557

“แม่สอดสะอื้น อนิจจาการทำาดีที่งี่เง่า!!!!” . นิตยสารผู้จัดการ (พฤศจิกายน 2530) อ้างถึงใน

“แม่สอดสะอื้น อนิจจาการทำาดีที่งี่เง่า!!!!”. สืบค้นจาก http://info.gotomanager.

com/news/details.aspx?id=8116 สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2557

หอการค้าจังหวัดตาก. “ฮงล้วแม่สอดสู้ค้าปลีกต่างชาติ ดึงลูกค้าไทย-พม่ากลับมาถึง 60%”.

สืบค้นจาก http://www.takchamber.com/index.php?lay=show&ac=article

&Id=540969&Ntype=3 (8 สิงหาคม 2550) สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2557

ข้อมูลจากการสัมภาษณ์

ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ นายสุชาติ ตรีรัตน์วัฒนา วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2553.

ข้อมูลจากการสัมภาษณ์พ่อค้าจีนแม่สอด 23 สิงหาคม 2553.

ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นักธุรกิจจีนแม่สอด 23 สิงหาคม 2553.

ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นายไพบูลย์ ทวีพรสวรรค์ วันที่ 1 กันยายน 2553.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.




ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ