ผู้หญิงในศิลปกรรมอยุธยา-รัตนโกสินทร์: ภาพลักษณ์ มุมมอง และเรื่องเล่า

กำพล จำปาพันธ์

Abstract


บทความนี้นำเสนอการศึกษาภาพลักษณ์ มุมมอง และเรื่องเล่าต่อผู้หญิงในสังคมสยาม ผ่านประวัติความเป็นมาและรูปแบบการนำเสนอในศิลปกรรมช่วงสมัยอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์ พบว่ามีภาพลักษณ์และมุมมองที่สะท้อนความคาดหวังให้ผู้หญิงทำหน้าที่ 3 บทบาท คือ แม่, เมีย, ลูกสาว ส่งผลทำให้เกิดรายละเอียดศิลปกรรมที่แตกต่างและนำเสนอเรื่องราวบทบาทของผู้หญิงจาก 3 แง่มุมข้างต้น เพื่อจัดลำดับความสัมพันธ์ที่มีต่อผู้ชายและธำรงรักษาระบอบชายเป็นใหญ่แบบไทยเอาไว้ในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ผู้หญิงมีบทบาทมากขึ้น


Keywords


ภาพลักษณ์, ผู้หญิง, ศิลปกรรม, อยุธยา, รัตนโกสินทร์

Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ