ชุธาตุ: เศรษฐกิจ การเมือง และศาสนา ในสังคมล้านนายุคเปลี่ยนผ่าน / Chuthat: Economy, Politics, and Religion of Lanna Society in Transition

มนวัธน์ พรหมรัตน์

Abstract


บทความชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา การก่อรูป และพัฒนาการของความเชื่อเรื่องชุธาตุในล้านนาผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมล้านนายุคเปลี่ยนผ่าน พบว่า ความเชื่อเรื่องชุธาตุได้รับอิทธิพลของความเชื่อที่ให้ความสำคัญกับเรื่องปีนักษัตรเกิดมาจากวัฒนธรรมสยามต้นรัตนโกสินทร์ ความเชื่อเรื่องชุธาตุในล้านนาจึงไม่น่าจะเก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ 25 ความเชื่อเรื่องชุธาตุมีบทบาทในทางเศรษฐกิจของล้านนาที่ช่วยให้เกิดการค้าขายระหว่างเมืองต่างๆ ทั้งภายในล้านนาและการค้าทางไกล และยังช่วยให้เกิดการขยายตัวของการทำนุบำรุงศาสนาด้วยกำลังของสามัญชนแทนที่การอุปถัมภ์โดยเจ้านายที่อำนาจลดลงด้วย ความเชื่อเรื่องชุธาตุที่พัฒนาไปสู่การทำภาพวาดสำหรับสักการบูชาประจำตัวยังสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชาวล้านนาไปสู่ความคิดและความเชื่อแบบปัจเจกชน ความคิดเรื่องชุธาตุที่เคยมีบทบาทที่สัมพันธ์กับชุมชนจึงค่อยๆ หมดความนิยมลงในล้านนาสมัยใหม่

article aims to investigate the formation and development of Chuthat belief in Lanna society in transitional period through historical context. It was found that Chuthat belief was influenced by 12-year cycle belief of Siamese in early Rattanakosin period. A precise date for the formation of the Chuthat belief cannot be given but it is unlikely to be existed before mid 19th century. The Chuthat belief play a role in Lanna economy as it supported both internal and international trade of Lanna.  The practice of worshipping the pagoda picture related to Chuthat belief instead of pilgrimage in caravan reflected the change of people’s worldview to be more individualistic. This change made the Chuthat belief gradually declined in Lanna modern society. 

 


Full Text:

Untitled

References


บรรณานุกรม

คัมภีร์ใบลานเรื่อง ยันต์ คาถา และทำนายปีเกิด วัดหนองบัว อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน รหัสไมโครฟิล์ม ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นน 052000900

ชวิศา ศิริ. (2550). การค้าของอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่ต้นพุทธศตวรรษที่ 19 ถึง ต้นพุทธศตวรรษที่ 22. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฏฐ์ เชาวนพูนผล. (2551). พฤติกรรมผู้บริโภคในการเช่าบูชาพระธาตุจำลอง 12 ปีนักษัตรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: การค้นคว้าแบบอิสระ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทิว วิชัยขัทคะ. (2534). ดอยตุงกับพระมหาชินธาตุเจ้า. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ทรัพย์การพิมพ์.

เธียรชาย อักษรดิษฐ์. (2545). ชุธาตุ: บทบาทและความหมายของพระธาตุในภูมิภาคอุษาคเนย์ กรณีศึกษาความเชื่อเรื่องพระธาตุปีเกิดในล้านนา. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย.

ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ. (2510 ). ภาพตำนานพระพุทธเจ้าปางต่างๆ. พระนคร: โรงพิมพ์กรมแผนที่ทหาร.

ประทีป ฉายสี. “การเมืองเรื่องตุ๊เจ้าในเวียงพิงค์เจียงใหม่ยุคปฏิรูป: กรณี ครูบาโสภา แห่งวัดฝายหิน”. ศิลปวัฒนธรรม. ลำดับที่ 347 ปีที่ 29 ฉบับที่ 11 (กันยายน 2551).

ปัทมากร บุลสถาพร. (2539). ความรู้ในตำราพรหมชาติ. เชียงใหม่: วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิริยะ ไกรฤกษ์. (2551). ลักษณะไทย 1. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด.

มณี พยอมยงค์. (2529). ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ทรัพย์การพิมพ์.

ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง. (2481). เทศน์ 12 นักษัตร ของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) วัดระฆังโฆสิตาราม ปกิรณกฉันท์ ของ เจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต (ทับ) วัดโสมนัสวิหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

รัตนาพร เศรษฐกุล. (2552). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจวัฒนธรรมแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ซิลค์เวอร์ม.

วราภรณ์ เรืองศรี. (2557). คาราวานพ่อค้าทางไกล: การก่อเกิดรัฐสมัยในภาคเหนือของไทยและดินแดนตอนในของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. เชียงใหม่: ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิระดา สมสวัสดิ์, เรณู วิชาศิลป์ ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2541). ไท : Tai. เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สนั่น ธรรมธิ. (2549). การศึกษาระบบวันตามความเชื่อในปักขทืนล้านนา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวรรณกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมหมาย เปรมจิตต์ และคณะ. (2553). โครงการปริวรรตพระคัมภีร์ล้านนา. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา: สุทินการพิมพ์.

สรัสวดี อ๋องสกุล. (2552). ประวัติศาสตร์ล้านนา (พิมพ์ครั้งที่ พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พรินติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. กจช., ร.5 ม.59/127 “จัดการปกครองเมืองนครเชียงใหม่”, 2 มิถุนายน ร.ศ. 119-14

เหมันต สุนทร. (2552). สิบสองนักษัตร ความเชื่อที่แสดงออกในงานศิลปกรรมล้านนา: กรณีศึกษาวัดในเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน). จารึกฐานพระพุทธรูปวัดดวงดี ๓ ด้านที่ ๑. เข้าถึงได้จาก http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_image_detail.php?id=1454 (30 มิถุนายน 2557)

หอศิลปะมรดกกวีล้านนา. พญาพรหมโวหาร. เข้าถึงได้จาก http://lannapoet.blogspot.com/2012/07/blog-post_02.html (30 มิถุนายน 2557)

Holt Hallet. (1886). A Thousand Miles on Elephant in the Shan State. London: William Blackwood and Son

PYU Archives, Nothern Carolina Presbyterian, February 9, 1870.

U.K., “Secretary to Chief Commissioner of British Burma”, F.O. 69/59 , July 17, 1874


Refbacks

  • There are currently no refbacks.




ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ