มาตรการป้องกันความรุนแรง อย่างไม่เป็นทางการ : การมีส่วนร่วมในการป้องกันความรุนแรงของแฟนบอลไทย / Measure of Informal Violence Prevention : Fan Participation in the Prevention of Violence in Thai Football

อาจินต์ ทองอยู่คง

Abstract


บทความนี้เสนอว่า แม้ฟุตบอลไทยถูกมองว่ามีความรุนแรงเกิดขึ้นมากและแฟนบอลมักจะถูกกล่าวถึงในแง่ของการเป็นผู้ก่อความรุนแรง แต่ในอีกด้านหนึ่งนั้นแฟนบอลไทยก็สามารถมีส่วนร่วมในการป้องกันความรุนแรงได้ผ่าน “มาตรการป้องกันความรุนแรงอย่างไม่เป็นทางการ” อันได้แก่ การกำหนด “ธรรมนูญแฟน” หรือระเบียบข้อปฏิบัติของแฟนบอล, บทบาทของผู้นำเชียร์ในการผ่อนคลายอารมณ์ของแฟนบอล, และกิจกรรมที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ระหว่างแฟนบอลต่างสโมสร มาตรการดังกล่าวทำงานผ่านความสัมพันธ์ระหว่างแฟนบอล โดยมีการรวมตัวกันได้เป็นชุมชนแฟนเป็นปัจจัยสำคัญ ซึ่งการที่แฟนบอลมีส่วนร่วมในการป้องกันความรุนแรงนี้นับเป็นมาตรการป้องกันความรุนแรงในฟุตบอลที่เป็นลักษณะเฉพาะของสังคมไทย  

 *บทความนี้ปรับปรุงมาจากส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย “แอลกอฮอล์ ความรุนแรง และมาตรการป้องกันในฟุตบอลไทย” โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.)

This article argues that, although Thai football leagues are permeated with violence and fans are often stigmatized as offenders, football fans could play a role reducing this violence through “measure of informal violence prevention”. For example, many fan groups have enacted “football fan’s code of conduct” to curb violent behavior. Chant-leaders can also play a constructive role in toning down violent emotions and increased contact between fan clubs could strengthen relationships. These informal measures operate through relationships between fans, so solidarity within fans' communities is an important factor in their success and the participation of fans generally is important in preventing football violence. 


Full Text:

PDF

References


รายการอ้างอิง

กุลวิชญ์ สำแดงเดช. การใช้สื่อเพื่อสร้างและธำรงรักษาอัตลักษณ์ของแฟนสโมสร

ฟุตบอลจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย, 2551.

ณัฐสุพงศ์ สุขโสต. บทบาทของการสื่อสารกับกระบวนการสร้างและสืบทอด

วัฒนธรรม “แฟนบอล” ในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหา

บัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.

บริษัทไทยพรีเมียร์ลีกจำกัด. ข้อบังคับ และระเบียบ ว่าด้วยการแข่งขันฟุตบอลลีก

อาชีพของประเทศไทย พ.ศ.2556. เอกสารไม่ตีพิมพ์, 2556.

ยศ สันตสมบัติ. “สิทธิชุมชน: พัฒนาการและการปรับกระบวนทัศน์ทางมานุษยวิทยา”

ใน ชลธิรา สัตยาวัฒนา (บรรณาธิการ) พลวัตสิทธิชุมชน: กระบวนทัศน์ทาง

มานุษยวิทยา. กรุงเทพ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2546,

หน้า 47-131.

สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย. คู่มือการแข่งขันฟุตบอลอาชีพ ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2

ของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย. เอกสารไม่ตีพิมพ์, 2556.

สายชล ปัญญชิต. ฟุตบอลแฟนคลับในสังคมไทยสมัยใหม่: ศึกษากรณีสโมสรเมือง

ทองหนองจอก ยูไนเต็ด. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย, 2553.

อาจินต์ ทองอยู่คง. “แฟนบอล”: ปฏิบัติการทางวัฒนธรรมของแฟนสโมสรฟุตบอล

ไทย. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555.

______________. “แฟนบอล แอลกอฮอล์ และความรุนแรงในฟุตบอลไทย”

ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว, พงศกร สงวนศักดิ์, และจุติพร ทรัพย์ปัญญา

ญาณ (บรรณาธิการ). ฟุตบอลไทย: ประวัติศาสตร์ อำนาจ การเมือง และความเป็นชาย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน, 2557, หน้า 153-210.

Adam Brown. “Introduction” in Adam Brown (ed.), Fanatics!: Power,

Identity, and Fandom in Football. London: Routledge, 1998,

p.1-7.

Anastassia Tsoukala. Football Hooliganism in Europe: Security and Civil

Liberties in the Balance. New York: Palgrave Macmillan, 2009.

Anthony King. “The Postmodernity of Football Hooliganism” The British

Journal of Sociology, 48(4), 1997, p. 576-593.

Arjun Appadurai. Modernity at Large: Cultural Dimensions of

Globalization. Minneapolis: University of Minnesota Press, 1995.

Desmond Morris. The Soccer Tribe. London: Cape, 1981. Eric Dunning,

“The Social Roots of Football Hooliganism: A Reply to the Critics

of the ‘Leicester School'” in Richard Giulianotti, Norman Bonney and Mike Hepworth (eds.), Football, Violence and Social Identity. London: Routledge, 2005[1994], p.123-151.

Henry Jenkins. Textual Poachers: Television Fans & Participatory

Culture. London: Routledge, 1992.

Norbert Elias and Eric Dunning. Quest for Excitement: Sport and Leisure

in the Civilising Process. Eric Dunning (ed.), Dublin: University

College Dublin Press, 2008[1986].

Rex Nash. “Contestation in Modern English Professional Football: The

Independent Supporters Association Movement” International

Review for the Sociology of Sport, 35(4), 2000, p. 465-486.

Richard Giulianotti. Football: A Sociology of the Global Game.

Cambridge: Polity Press, 1999.

Stuart Hall. “The Treatment of Football Hooliganism in the Press” in

Roger Ingham (ed.), Football Hooliganism: The Wider Context.

London: Inter-Action Imprint, 1978, p. 15-36.

Vincenzo Scalia. “Just a Few Rogues?: Football Ultras, Clubs and Politics

in Contemporary Italy” International Review for the Sociology

of Sport, 44(1), 2009, p. 41-53.

การอ้างอิงอิเลกทรอนิกส์

บริษัทไทยพรีเมียร์ลีกจำกัด. “ดร.วิชิต แย้มบุญเรือง แถลงสรุปสถิติการแข่งขันประจำปี

ในงาน Meet the Press” เข้าถึงได้จากwww.thaipremierleague.co.th/news_detail.php?nid=00464 (1 กรกฎาคม 2557), 7 พฤศจิกายน 2556.

ปีดิเทพ อยู่ยืนยง. “ผลจากโศกนาฏกรรมฮิลส์โบโร ค.ศ. 1989 ต่อกฎหมายกีฬา

อังกฤษ: มองจากอดีต ปัจจุบันและอนาคต” ประชาไท. เข้าถึงได้จาก

www.prachatai.com/journal/2012/09/42654 (3 กรกฎาคม 2557), 15

กันยายน 2555.

พลพงศ์ จันทร์อัมพร. “ความจริงเปิดเผย!! ตำรวจและเจ้าหน้าที่บิดเบือนโศกนาฏกรรม

ฮิลส์โบโรห์” Goal. เข้าถึงได้จาก

www.goal.com/th/news/4256/ฟุตบอลอังกฤษ/2012/09/13/3373580/ความจริงเปิดเผย (3 กรกฎาคม 2557), 13กันยายน 2555.

webmaster. “ประกาศกฎแฟนคลับอุลตร้าเมืองทอง พ.ศ.๒๕๕๒” เข้าถึงได้จาก

www.mtufc.com/board/index.php?topic=1021.0 (3 กรกฎาคม 2557), 17 พฤษภาคม 2553.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.




ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ