กระบวนการสร้างอุดมการณ์รักชาติไทย ด้วยกลวิธีทางภาษาในนวนิยายแนวอิงประวัติศาสตร์ ของวิมล ศิริไพบูลย์ / The Procedure to Construct Thai Nationalism Ideology by Linguistic Strategies in Wimol Siripaiboon’s Historical Novels

สุพรรษา ภักตรนิกร

Abstract


บทความวิจัยเรื่อง “กระบวนการสร้างอุดมการณ์รักชาติไทยด้วยกลวิธีทางภาษาในนวนิยายแนวอิงประวัติศาสตร์ของ วิมล
ศิริไพบูลย์” มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ กระบวนการสร้างอุดมการณ์รักชาติไทยด้วยกลวิธีทางภาษาในนวนิยายของวิมล
ศิริไพบูลย์ จำนวน 6 เรื่อง คือ คู่กรรม ร่มฉัตร ทวิภพ อตีตา
กษัตริยา และอธิราชา โดยใช้แนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์ของนอร์แมน แฟร์คลาฟ

ผลการศึกษาพบว่า นวนิยายแนวอิงประวัติศาสตร์ของ
วิมล ศิริไพบูลย์ มีการผลิตสร้างอุดมการณ์รักชาติไทย โดยการใช้คำ และการผูกประโยคแบบต่างๆ และกลวิธีทางวรรณศิลป์ ซึ่งปรากฏในข้อความบรรยาย หรือบทสนทนาของตัวละคร อุดมการณ์รักชาติไทยในนวนิยายแนวอิงประวัติศาสตร์ของวิมล ศิริไพบูลย์ ประกอบไปด้วยการยกย่องความเป็นไทยด้วยการแสดงให้เห็นถึง “คุณค่าความเป็นไทย”

 *บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง อุดมการณ์รักชาติไทยในนวนิยายแนวอิงประวัติศาสตร์ของวิมล  ศิริไพบูลย์     ได้รับทุนอุดหนุนงานวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2557

This research aims to analyze the construction of a Thai nationalist ideology in Wimol Siripaiboon’s six historical novels: Khukam, Romchat, Thawibhop, Atita, Kasatriya and Atiraja. This will be done through the use of Norman  Fairclough’s conception of critical discourse analysis

 

The results show that the texts build nationalist ideologies through lexis and syntax in the novels' narration and dialogue. The nationalist ideologies are built through the praising of the values of the Thai nation and nationality and in portraying Thais as the victims of foreign aggression and so worthy of sympathy. In addition, the failures of historical leaders are defended and justified. This nationalist ideology is in accordance with major currents in Thai society, resulting in the novels' acceptance by the broader society.

 


Full Text:

PDF

References


รายการอ้างอิง

ภาษาไทย

กาญจนา แก้วเทพ. 2544 ก.การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Theory):

แนวคิดและตัวอย่างงานวิจัย.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

_______________.2544 ข.ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรส

โปรดักส์.

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. 2545. อ่าน (ไม่) เอาเรื่อง. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร.2551. ภาษากับการเมือง/ ความเป็นการเมือง. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

_________________. 2545. วาทกรรมการพัฒนา : อำนาจ ความรู้ ความจริง

เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : วิภาษา.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง.2556. วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิด

และการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ :

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทรงภพ ขุนมธุรส.2550.ขัตติยนารีในนวนิยายแนวอิงประวัติศาสตร์.วิทยานิพนธ์

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นพพร ประชากุล.2552 ก. ยอกอักษร ย้อนความคิด เล่ม 1 ว่าด้วยวรรณกรรม. กรุงเทพฯ

: อ่าน.

______________. 2552 ข. ยอกอักษร ย้อนความคิด เล่ม 2 ว่าด้วยสังคมศาสตร์และ

มนุษยศาสตร์. กรุงเทพฯ : อ่าน.

นฤมล ทับจุมพล. 2531.การใช้สื่อในการสร้างอุดมการณ์ทางการเมือง : ศึกษาจากบทเพลง

ของทางราชการ (พ.ศ. 2475 – พ.ศ. 2530). วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นัทธนัย ประสานนาม. 2550. อยู่กับก๋งของ หยก บูรพา : การถ่ายทอดอุดมการณ์การ

ผนวกรวมในบริบทสังคมไทย. รายงานการวิจัยทุนสนับสนุนการวิจัย

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นัยนา ครุฑเมือง. 2547.นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ล้านนา : ภาพสะท้อนทางการเมืองและ

สังคม.วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. 2538.ชาติไทย เมืองไทย แบบเรียน และอนุสาวรีย์ : ว่าด้วยวัฒนธรรม,

รัฐและรูปการจิตสำนึก. กรุงเทพฯ : มติชน.

นุจรี ใจเก่ง. 2551.“ระลึกชาติในแบบเรียนภาษาไทย”. ใน อ่าน, 1(2) กรกฎาคม-กันยายน,

-53.

บรรจง บรรเจิดศิลป์. 2517. ศิลปวรรณคดีกับชีวิต. กรุงเทพฯ : เจริญวิทย์การพิมพ์.

มานิตย์ จุมปา. 2546. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540). กรุงเทพฯ :

สำนักพิมพ์นิติธรรม.

วรมน เหรียญสุวรรณ. 2552. มิติสถานที่ในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์

ศึกษาจากงานประพันธ์ของ "ทมยันตี". รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

วรารัตน์ สุขวัจนี. 2551. การศึกษาวิเคราะห์นวนิยายแนวอิงประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรี

อยุธยา.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรุณญา อัจฉรบดี. 2554. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติ

และนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทย : เรื่องเล่าและภาพแทน.วิทยานิพนธ์

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วศินี สุทธิวิภากร. 2552. วาทกรรมของมิเชล ฟูโกต์ต่อสถานภาพและบทบาทสตรีไทย

ตามที่นำเสนอในนวนิยายของคุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิมล ศิริไพบูลย์. 2555. อตีตา. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : ณ บ้านวรรณกรรม.

___________ . 2534. ร่มฉัตร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ณ บ้านวรรณกรรม.

___________ . 2547. กษัตริยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ณ บ้านวรรณกรรม.

___________ . 2556. คู่กรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : ณ บ้านวรรณกรรม.

___________ . 2551. อธิราชา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ณ บ้านวรรณกรรม.

___________ . 2551. ทวิภพ. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : ณ บ้านวรรณกรรม.

วิสันต์ สุขวิสิทธิ์. 2554. ความสัมพันธ์ระหว่างอุดมการณ์กับภาษาในหนังสือเรียนรายวิชา

ภาษาไทยตามหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2503 -2544 : การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริพร ภักดีผาสุก. 2553. โครงการวาทกรรม “ความเป็นผู้หญิง” ในนิตยสารสุขภาพและ

ความงามของไทย. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สรณี วงศ์เบี้ยสัจจ์, หัทยา จันทรมังกร และศตนันท์ เปียงบุญทา. 2547. หนังสือนิทาน

ภาพสำหรับเด็กของไทยที่ได้รับรางวัล : การวิเคราะห์เชิงวรรณกรรมและวาทกรรม. เชียงใหม่ : ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุรเดช โชติอุดมพันธ์. 2548 . วาทกรรม ภาพแทน และอัตลักษณ์ วรรณคดีศึกษาใน

บริบทสังคมและวัฒนธรรม 2.เอกสารประกอบการบรรยาย คณะอักษรศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมร รักษาสัตย์. 2541. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : ด่านสุท

ธาการพิมพ์ จำกัด.

อัลธูแซร์, หลุยส์. 2529. อุดมการณ์และกลไกของรัฐทางอุดมการณ์.แปลโดย กาญจนา

แก้วเทพ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาษาอังกฤษ

Althusser, Louis. 1984. Essay on Ideology. London : Thetfort Press.

Blommaert, Jan. 2005. Discourse : A Critical Introduction. New York :

Cambride University Press.

Eagleton, Terry. 1996. Literary Theory An Introduction. Oxford : Blackwell

Publishers.

Fairclough, N. 1989. Language and power. London: Longman.

Fairclough, N. 1992. Discourse and social change. Cambridge: Polity.

Fairclough, N. 1995. Critical discourse analysis: the critical study of

language. London: Longman.

Foucault, Michel. 1980. Power/knowledge : Selected Interviews and Other Writings,1972-1977. Brighton, Sussex : Harvester Press.

______________. 1972. The Archaeology of Knowledge. London :

Routledge.

Hall, Stuart (ed.). 1997. Representation : Cultural Representations and

Signifying Practices. London : Sage.

Wolfreys, Julian. 2004. Critical Keywords in Literary and Cultural

Theory. Hampshire : Palgrave Macmillan.

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.2556.คำประกาศเกียรติคุณ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์.(ออนไลน์).

แหล่งที่มา:http://www.culture.go.th/subculture8/attachments/article/260/vimol.pdf. ค้นเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2556.

แพง ชินพงศ์. 2556.ชาตินิยม อุดมการณ์ที่ควรปลูกฝังให้กับคนไทย.(ออนไลน์).แหล่งที่มา :

http://www.manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9560000142945.

ค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2556.

วิกิพีเดีย.2557.วิมล เจียมเจริญ.(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/

วิมล_เจียมเจริญ. ค้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2557.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.




ISSN 2985-2757 (Print)

ISSN 2985-2765 (Online)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบฟอร์มของวารสารฯ
     1. แบบฟอร์มเสนอขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์
     2. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิจัย
     3. แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
     4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง-APA7    

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | Lampang Rajabhat University | 南邦皇家大學

- คณะครุศาสตร์ - คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ - คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - คณะพยาบาลศาสตร์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ฯ