1. 2560, การสร้างคำประสมของภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. 2559, การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพท์ตามตัวแปรทางสังคมบางประการและทัศนคติของผู้พูดภาษาไทยลื้อในจังหวัดลำปาง, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
1. 2567, Chunyan Yang, ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน และ ธนพร หมูคำ. การแปรคำศัพท์ภาษาไตหย่าที่ใช้พูดที่ตำบลโม่ซา (Mosha) อำเภอซินผิง (Xinping) มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน, Journal of Roi Kaensarn Academi. 9(3) ฉบับเดือนมีนาคม, หน้า 143-162
2. 2562, การสังเคราะห์และแนวโน้มการวิจัยด้านภาษาศาสตร์สังคม, มังรายสาร สถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) หน้า 67-86
3. 2562, ศึกษาคำเรียกชื่อผักพื้นบ้นาในภาษาไทใหญ่ บ้านเมืองปอน ตำบลเมืองปอน อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน, มังรายสาร สถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) หน้า 87-102
4. 2561, การศึกษาองค์ประกอบด้านความหมายของคำลักษณนามที่ใช้กับส่วนต่างๆของพืชในภาษาเขมร: ปัจจัยด้านการศึกษา, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561) หน้า 333-349
5. 2560, การแปรเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทลื้อที่พูดในประเทศไทยและสิบสอง ปันนา สาธารณรัประชาธิปไตยประชาชนจีน, กาสะลองสาส์น. หน้า160-187.
6. 2560, การศึกษาองค์ประกอบด้านความหมายของคำลักษณนาม "เครื่อง" ในภาษาเขมร, รมยสาร. หน้า 117-126
7. 2559, คำเรียกของคู่รักในภาษาไทยถิ่น, รายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ(proceeding) การประชุมวิชาการระดับชาติ มนุษยศาสตร์: ความจริงกับพลังแห่งความฝัน คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 14-15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559(หน้า 75-97).
8. 2557, การศึกษาการเรียบเรียงความคิดและการเชื่อมโยงความจากการเขียนเรียงความของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6, วารสารสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 3 ฉบับที่1หน้า 65-78.