ชื่อ - สกุล : ดร.ทัตพิชา สกุลสืบ
เลขตำแหน่ง : 50121
ตำแหน่ง : อาจารย์
ประเภทบุคลากร : สายวิชาการ
สังกัดหน่วยงาน : สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ
การศึกษา : ปร.ด. (ภาษาไทย), มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมล : thatpic@hotmail.com


1. 2564, กลวิธีการเล่าเรื่องและศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมล้านนา ของ สงวน โชติสุขรัตน์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. 2558, ภาพแทนแนวคิดร่วมสมัยในสารคดีและวิธีการ, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
3. 2557, อวัจนภาษาในนวนิยายเรื่อง เดอะรีดเดอร์ : การเปรียบเทียบนวนิยายฉบับภาษาไทยกับภาพยนตร์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
4. 2556, กระบวนการเรียนรู้นอกรูปแบบห้องเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพทางการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (ความร่วมมือกับสถาบันรามจิตติ) , คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
5. 2555, รูปแบบโครงเรื่องของนวนิยายไทยแนวสลับร่างระหว่าง พ.ศ. 2550-2554, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
6. 2555, ปัจจัยที่ทำให้นวนิยายไม่ได้รับความนิยม, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
7. 2554, การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษาการแปลงนวนิยายเรื่อง วนิดา สู่ละครโทรทัศน์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
1. 2566, ธนพร หมูคำ และทัตพิชา สกุลสืบ. ความเป็นอาณานิคมจากส่วนกลางในงานของ สงวน โชติสุขรัตน์, วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์. 11(1) (มกราคม-เมษายน), 37-50
2. 2565, อ่านตามรักคืนใจในมุมมองการเดินทางของนักเขียนโดยคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์., รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบ 88 ปีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ 30 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ลำปาง. "นวัตกรรมการศึกษาและวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต" 24 มิถุนายน 2565, 271-287.
3. 2565, วนิดา : การดัดแปลงนวนิยายสู่ละครโทรทัศน์., วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 10(1), 35-53.
4. 2564, ทัตพิชา สกุลสืบ และธนพร หมูคำ. กลวิธีการเขียนและศิลปะการใช้ภาษาของสงวน โชติสุขรัตน์ในสารคดีชีวประวัติ ?คนดีเมืองเหนือ?., รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา. วันที่ 16 ธันวาคม 2564. หน้า 535-554.
5. 2563, ทัตพิชา สกุลสืบ, นิตยา มูลปินใจ, สุประวีณ์ แสงอรุณเฉลิมสุข และ สิริญญา สุขสวัสดิ์. , บทบาทของอวัจนภาษาในนวนิยายเรื่อง เดอะ รีดเดอร์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับนานาชาติเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา "ภาษาและวัฒนธรรมไทยในวิถีโลกสมัยใหม่ Thai in the Modern World" วันที่ 17 - 18 ธันวาคม 2563, หน้า 401-412.
6. 2563, Wu Mengqi, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ, และทัตพิชา สกุลสืบ., ภาพแทนความทรงจำเมืองลำปางจากมิวเซียมลำปาง. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับนานาชาติเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา "ภาษาและวัฒนธรรมไทยในวิถีโลกสมัยใหม่ Thai in the Modern World" วันที่ 17 - 18 ธันวาคม 2563, หน้า 36-47.
7. 2563, Sakulsueb, T. & Sakulsueb, P., Implementation of Flashcards to Teach Advanced Thai Language for Chinese Learners. Kasalongkham Research Journal. 14(2). P. 19-29.
8. 2562, ทัตพิชา สกุลสืบ, ชัยเนตร ชนกคุณ, และสิริญญา สุขสวัสดิ์. อัตลักษณ์นักศึกษาและภาพแทนมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางจากบทเพลงของสถาบัน, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชน วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. หน้า 374-384.
9. 2562, Yang Wenxing, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ, ทัตพิชา สกุลสืบ. เยี่ยหัว: การผจญภัยของวีรบุรุษในนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ณ อาคารบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. หน้า 359-373.
10. 2561, สูตรสำเร็จและเกร็ดบางประการในงานของกฤษณา อโศกสิน, นำเสนอปากเปล่ารายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ในโครงการบริการวิชาการแก่นิสิตปริญญาตรี โท เอก สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 9 กุมภาพันธ์ 2561
11. 2561, การนำทฤษฎีวัจนปฏิบัติศาสตร์ไปใช้กับงานวิจัยของสาขาวิชาภาษาไทย, มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 6(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561)
12. 2561, สูตรสำเร็จในนวนิยายรักยอดนิยมแนวครอบครัว, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และลำปางวิจัยครั้งที่ 4 โดยสำนักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา และสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ร่วมกับเครือข่ายบัณฑิตศึกษามห
13. 2561, การนำทฤษฎีวัจนปฏิบัติศาสตร์ไปใช้กับงานวิจัยของสาขาวิชาภาษาไทย, มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 6(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561)
14. 2560, กรอบแนวคิดของงานวิจัยที่ใช้เพื่อศึกษานวนิยายของวิมล ศิริไพบูลย์, การสัมมนาผลการศึกษาค้นคว้าระดับปริญญาเอก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
15. 2560, พลังปัญญา คุณค่าแห่งมนุษยนิยมในผลงานเรื่อง สู่สายรุ้ง ของเชิญอักษร, การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2560 หัวข้อ ?Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน?
16. 2560, An Analysis of Concepts and Doctrines of Zhuangzi from His Selected Ancient Chinese Fables, The 10th International Conference of HUSOC Academic Research 2017 ?Dynamics of Humanities and Social Sciences in Cross-Border Societies? Chiang Rai Rajabhat University, Thailand.
17. 2560, ภาพแทนแนวคิดร่วมสมัยในสารคดีแนะวิธีการ, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ลำปางวิจัย ครั้งที่ 3 "บูรณาการนวัตกรรมและการวิจัยสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน" โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 26-27 ก.ค. 2560
18. 2560, ประชด เสียดสี แดกดัน ความแตกต่างกันทางความหมายตามบริบทที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง จำเลยรัก, สัมมนาผลการศึกษาค้นคว้าทางภาษาและวรรณกรรมของนิสิตสาขาภาษาไทย ระดับปริญญาเอก, 30 พ.ย. 2560
19. 2560, บทสังเคราะห์กระบวนวิจัยเชิงวัฒนธรรมเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยและลาว, จุลสารสาส์นไทย 5(1) (29 กรกฎาคม 2560)
20. 2560, วิเคราะห์กรอบแนวคิดการวิจัยที่ใช้นวนิยายของวิมล ศิริไพบูลย์เป็นตัวบท, กาสะลองสาส์น (ฉบับพิเศษ) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
21. 2559, แนวทางการศึกษาวิจัยภาษาและวรรณกรรมตามแนวทางวัจนปฏิบัติศาสตร์, การสัมมนาผลการศึกษาค้นคว้าระดับปริญญาเอก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
22. 2559, ภาพแทนแนวคิดร่วมสมัยเชิงจิตวิทยาการสื่อสารในสารคดีแนะวิธีการ, การนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับปริญญาตรี/โท/เอก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
23. 2557, รูปแบบโครงเรื่องสลับร่าง พ.ศ. 2550-2554, ประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
...