ชื่อ - สกุล : ดร.ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ
เลขตำแหน่ง : 50120
ตำแหน่ง : อาจารย์
ประเภทบุคลากร : สายวิชาการ
สังกัดหน่วยงาน : สาขาวิชาภาษาไทย
การศึกษา : ปร.ด. (คติชนวิทยา), มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมล : sakulaueb_9@hotmail.com


1. 2558, การศึกษาประเพณีแก้มื้อนาจากวัดพระธาตุลำปาง, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. 2558, พัฒนาเครือข่ายและกลไกการศึกษาสภาวการณ์และขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนระดับภาคเหนือ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
3. 2557, คติชนในเรื่องเล่าสมัยใหม่ : การวิเคราะห์อนุภาคและตัวละครเอกในนิยายแฟนตาซีเรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
4. 2557, การพัฒนาเครือข่ายและกลไกการศึกษาสภาวการณ์และขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนระดับภาคเหนือ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
5. 2556, การพัฒนาเครือข่ายและกลไกการศึกษาสภาวการณ์และขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนระดับภาคเหนือ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
6. 2556, การศึกษาเพลงรำวงจาก ต.ล้อมแรด อ.เถิน จ.ลำปาง, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
7. 2555, คติชนจากวัดพระธาตุลำปาง : การบูรณาการการเรียนการสอนกับการวิจัย, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
1. 2566, หุ่นพยนต์กับการป้องกันโรคโควิด-19: การศึกษาตามแนวคิดคติชนวิทยา 3 มิติ ของกิ่งแก้ว อัตถากร, วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 11(1), 78-89
2. 2565, ทัตพิชา สกุลสืบ และภาณุวัฒน์ สกุลสืบ. อ่านตามรักคืนใจในมุมมองการเดินทางของนักเขียนโดยคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบ 88 ปีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ 30 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ลำปาง. "นวัตกรรมการศึกษาและวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต" 24 มิถุนายน 2565, 271-287
3. 2564, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ อรอุษา สุวรรณประเทศ และพรหมพิสิฐ พันธ์จันทร์. ทวิภาวะของน้ำจากไตรภูมิกถา, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 9(2), 37-52
4. 2564, อนุภาคไสยศาสตร์และบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอก เรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์, วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 9(1), 110?125
5. 2564, Folklore and COVID-19 Protection: Case Study of Thai Spiritual Guardian for the City Gate by Pong Sanuk Nuea Temple Faith Group, Lampang Province, Thailand, Conference Proceedings The 14 th International Humanities and Social Sciences Network "Moving from Disruption to Resilience: The Dynamics of Humanities and Social Sciences", 15-16 July, 2021, pp. 139-143. Phitsanulok : Faculty of Humanities, Naresuan University
6. 2564, จิรัชญา กันธะวงศ์, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และทัตพิชา สกุลสืบ. จอย ลดา: รูปแบบการใช้งานและกลวิธีการเปิดเรื่องของวรรณกรรมดิจิทัล, วารสารมังรายสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9 (1), 19-32
7. 2564, ชไมพร คงอินทร์, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และทัตพิชา สกุลสืบ. ผลกระทบของคำสาปที่มีต่อรูปแบบโครงเรื่องในนวนิยายเรื่อง "ก็อบลิน", วารสารมังรายสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9 (1), 33-48
8. 2564, ธิดารัตน์ วงศ์จักรติ๊บ, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และทัตพิชา สกุลสืบ. พิธีกรรมการป้องกันโรคโควิด 19 ของชุมชนบ้านกิ่วท่ากลาง ? ท่าใต้ หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง, วารสารมังรายสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9 (1), 65-80
9. 2564, วนิดา ไชยวงค์ษา, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และทัตพิชา สกุลสืบ. การเดินทางของวีรบุรุษตามแนวคิดของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ : กรณีศึกษาบทบาทตัวละครเอกเว่ยอู๋เซียนจากวรรณกรรมจีนแปลเรื่อง ปรมาจารย์ลัทธิมาร, วารสารมังรายสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9 (1), 1-17
10. 2563, ทัตพิชา สกุลสืบ และภาณุวัฒน์ สกุลสืบ. การประยุกต์ใช้บัตรคำเพื่อสอนภาษาไทยระดับสูงแก่ผู้เรียนชาวจีน, วารสารการวิจัยกาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 14(2), 19-29
11. 2563, ศิริรัตน์ บุญสำอางค์, สุกัญญา อุดแคว และภาณุวัฒน์ สกุลสืบ. การศึกษาองค์ประกอบของพิธีกรรมในพิธีแต่งงานของชาวปกาเกอะญอ หมู่บ้านสันโป่ง ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง, วารสารมังรายสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 8 (1), 15-28
12. 2563, Wu Meng Qi, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และทัตพิชา สกุลสืบ. ภาพแทนความทรงจำเมืองลำปางจากมิวเซียมลำปาง, รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 4 สถาบันการศึกษา. วันที่17-18 ธันวาคม 2563 "ภาษาและวัฒนธรรมไทยในวิถีโลกสมัยใหม่", (น.36 -47). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์
13. 2562, ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และวนิดา บำรุงไทย. ตำรับรักฉบับวัยรุ่น: การวิเคราะห์แบบเรื่องจากหนังสือรวมเรื่องสั้นชุด "ความรู้สึกดี...ที่เรียกว่ารัก", วารสารมังรายสาร สถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 7 (2), 44-60
14. 2562, เกษณี ตั๋นตุ้ย และภาณุวัฒน์ สกุลสืบ. บทบาทของนิทานพื้นบ้านปกาเกอะญอ หมู่บ้านสันโป่ง ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 วันที่ 15 พฤษภาคม 2562 "นครน่าน: นครพระพุทธศาสนา มรดกธรรม สู่มรดกโลก" เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, (น. 281-289). น่าน: วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
15. 2562, ศิริรัตน์ บุญสำอาง, สุกัญญา อุดแคว และภาณุวัฒน์ สกุลสืบ. พิธีเปลี่ยนสภาวะ : กรณีศึกษาจากงานแต่งงานของชาวปกาเกอะญอ หมู่บ้านสันโป่ง ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 วันที่ 15 พฤษภาคม 2562 "นครน่าน : นครพระพุทธ ศาสนา มรดกธรรม สู่มรดกโลก" เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, (น. 290-300). น่าน: วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
16. 2562, Yang Wenxing, ภาณุวัฒน์ สกลุสืบ และทัตพิชา สกุลสืบ. เยี่ยหัว: การผจญภัยของวีรบุรุษในนวนิยายจีนแปลเรื่องสามชาติสามภพของป่อท้อสิบหลี่, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ "พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา: วิถีไทย วิถีอาเซียน" ครั้งที่ 1 วันที่ 20 ธันวาคม 2562, (น. 359-373). ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
17. 2561, การสร้างสรรค์ประเพณีด้วยคติชนประยุกต์ : กรณีศึกษาเทพบุตรสลุงหลวงในงานสลุงหลวง กลองใหญ่ ปี๋ใหม่เมือง นครลำปาง, การประชุมโครงการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และ ลำปางวิจัย ครั้งที่ 4 บูรณาการงานวิจัยสู่การพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จังหวัดลำปาง
18. 2561, การสร้างสรรค์ประเพณีด้วยคติชนประยุกต์: กรณีศึกษาเทพบุตรสลุงหลวงในงานสลุงหลวง กลองใหญ่ ปี๋ใหม่เมือง นครลำปาง, รายงานการประชุมโครงการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และลำปางวิจัย ครั้งที่ 4 วันที่ 20 กรกฎาคม 2561 บูรณาการงานวิจัยสู่การพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน, (น. 1008-1024). ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
19. 2561, ความสำคัญของน้ำในประเพณีหลวง: กรณีศึกษาจากพระราชพิธีสิบสองเดือน, พิฆเนศวร์สาร, 14 (2), 133-148
20. 2560, ความเชื่อและตำนานเกี่ยวกับสายน้ำของชนชาติไท, จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2560 หน้า 3-5
21. 2559, ความสําคัญของน้ำในประเพณีหลวง : กรณีศึกษาจากพระราชพิธีสิบสองเดือน ,การประชุม สัมมนาระดับชาติเรื่อง "พลังปัญญาเพื่อขับเคลื่อนสังคมไทย : ภาษา วรรณกรรม และคติชน", โรงแรมเคยูโฮม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
22. 2559, ทวิภาวะของน้ำในเทพปกรณัม : กรณีศึกษาจากไตรภูมิกถา, โครงการประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติของเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ-วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 9 "พลังมนุษยศาสตร์ พลังสังคมศาสตร์ พลังแห่งความสุขที่ยั่งยืน" โรงแรมท็อปแลนด์พิษณุโลก
23. 2559, "เทพปกรณัมอินเดีย...รู้ไว้ไม่มีเสีย" ความสำคัญของเทพปกรณัมอินเดียต่อการศึกษาด้านมนุษยศาสตร์, จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม 2559 หน้า 3-5
24. 2558, "Salung Luang Angel" Creative of Folklore and Invention of Tradition of Nakhon Lampang, the 1st International Conference on Ethnics in Asia "Life, Power and Ethnics" , August 21, 2015 at the Eka-Thotsarot Building, Naresuan University, Phitsanulok, Thailand.
25. 2558, ประเพณีเอามื้อนาจากวัดพระธาตุลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง, การประชุมวิชาการเรื่อง "พลังและพลวัตวัฒนธรรมล้านนา" จัดโดย สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ห้องจันผา โรงแรมเวียงลคอร จังหวัดลำปาง
26. 2557, คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของเพลงรำวงจากตำบลล้อมแรด อ.เถิน จ.ลำปาง, ประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
27. 2556, การศึกษาเพลงรำวงจาก ต.ล้อมแรด อ.เถิน จ.ลำปาง, การเสวนาวิชาการ ลำปางศึกษา ครั้งที่3 ?เมื่อโลกเก่าและโลกใหม่มาบรรจบกัน? ห้องประชุมโอฬารรมย์ อาคารโอฬารโรจน์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
28. 2556, ภาพสะท้อนสังคมญี่ปุ่นจากวรรณกรรมการ์ตูนเรื่อง Great Teacher Onizuka, การประชุมเครือข่ายวิชาการและนำเสนองานวิจัยทางภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม ครั้งที่ 1 ห้องประชุมโอฬารรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
...